ตะกรุดตากสินมหาราช สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดไตรมิตร

วัตถุมงคล ที่เสริมด้านเมตตา บารมี แคล้วคลาดปลอดภัย ขึ้นชื่อคือ ตะกรุดตากสินมหาราช อาราธนาเพื่อความร่มเย็นเป็นสุข เป็นสิริมงคลแก่ผู้บูชา ใช้ชนวนเก่าของวัด แผ่นจารพระเกจิทั่วประเทศ

วัตถุมงคล ที่เสริมด้านเมตตา บารมี แคล้วคลาดปลอดภัย ขึ้นชื่อคือ ตะกรุดตากสินมหาราช อาราธนาเพื่อความร่มเย็นเป็นสุข เป็นสิริมงคลแก่ผู้บูชา ใช้ชนวนเก่าของวัด แผ่นจารพระเกจิทั่วประเทศ

วัตถุมงคล ชิ้นนี้ถูกสร้างปลุกเสกขึ้นเพื่อสมทบทุนสร้างศาลาปฏิบัติธรรม บูรพาจริยานุสรณ์ และบูรณะพระอารามวัดนาคกลางวรวิหาร โดย พระปริยัติวโรปการ เจ้าอาวาสวัดนาคกลางวรวิหาร

การสร้าง ตะกรุดตากสินมหาราช เกิดจากเรื่องราวความกล้าหาญ และความเชื่อในบารมีของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงมีพระนามเดิมว่า “สิน” ชื่อจีนเรียกว่า เซิ้นเซิ้นซิน พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2277 พระราชบิดาเป็นชาวจีนแต้จิ๋ว ชื่อ “นายไหฮอง” ได้สมรสกับหญิงไทยชื่อ”นางนกเอี้ยง”

วัตถุมงคล ที่เสริมด้านเมตตา บารมี แคล้วคลาดปลอดภัย ขึ้นชื่อคือ ตะกรุดตากสินมหาราช อาราธนาเพื่อความร่มเย็นเป็นสุข เป็นสิริมงคลแก่ผู้บูชา ใช้ชนวนเก่าของวัด แผ่นจารพระเกจิทั่วประเทศ

ในช่วงรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ซึ่งเจ้าพระยาจักรีได้ขอไปอุปการะเป็นบุตรบุญธรรมตั้งแต่ครั้งเยาว์วัย ครั้นอายุ 5 ปี เจ้าพระยาจักรีได้นำไปฝากเรียนกับพระอาจารย์ทองดี วัดโกษาวาส (วัดคลัง) ทรงศึกษาหนังสือขอมและหนังสือไทยจนจบบริบูรณ์ ตลอดจนศึกษาพระไตรปิฎกจนแตกฉาน ต่อมาเมื่ออายุ

ครบ 13 ปี เจ้าพระยาจักรีได้นำตัวเด็กชายสิน ไปถวายตัวเป็นมหาดเล็ก ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ทำราชการกับหลวงศักดิ์นายเวร ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยาจักรี เมื่อมีเวลาว่างจะศึกษาหาความรู้ กับอาจารย์ชาวจีน

อาจารย์ชาวญวน และ อาจารย์ชาวแขก จนเชี่ยวชาญและสื่อสารได้อย่างคล่องแคล่วทั้ง 3 ภาษาครั้นเมื่ออายุครบ 21 ปี ได้อุปสมบท ณ วัดโกษาวาส ทรงดำรงอยู่ในสมณเพศได้ 3 พรรษา จึงลาสิกขา และกลับมารับราชการตามเดิม ด้วยความฉลาด รอบรู้ขนบธรรมเนียมตลอดจนภารกิจต่างๆ อย่างดี สามารถทำงานต่างพระเนตรพระกรรณได้

จนได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นมหาดเล็ก รายงานราชการทั้งหลายในกรมมหาดไทย และ กรมวังศาลหลวงครั้น พ.ศ. 2301 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเสด็จสวรรคต สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอุทุมพรเสด็จขึ้นครองราชย์ได้ 3 เดือนเศษ ก็ถวายราชสมบัติแก่สมเด็จพระเชษฐาธิราช “สมเด็จพระบรมราชาที่ 3” (สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์)

สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้นายสินมหาดเล็กรายงาน เป็นข้าหลวงเชิญท้องตราพระราชสีห์ไปชำระความที่หัวเมืองฝ่ายเหนือซึ่งปฏิบัติราชการได้รับความดีความชอบมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นหลวงยกกระบัตร เมืองตาก ช่วยราชการพระยาตากครั้นพระยาตากถึงแก่กรรม ก็ทรงโปรดให้เลื่อนเป็น “พระยาตาก ปกครองเมืองตาก”ในปี พ.ศ. 2307

หรือสามารถเข้ารับชมวีดีโอเพิ่มเติมได้ ที่นี่
หรือสามารถชมเครื่องรางของขลังอื่นๆได้ ที่นี่

#maharuoy #ตะกรุดตากสินมหาราช #สิริมงคลแก่ผู้บูชา #สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดไตรมิตร

ขอขอบคุณภาพจาก

  • shopee.co.th
Facebook
Twitter
Pinterest
Reddit